Page 96 - MRTA Annual Report 2021-Thai
P. 96
รายงานประจาปี 2564 94 การรถไฟฟา้ ขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ผลการดาเนินงานด้านการรักษาความปลอดภัยและกู้ภัย
รฟม. ได้เปิดให้บริการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล เม่ือวันที่ 3 กรกฎาคม 2547 และรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม เม่ือวันท่ี 6 สิงหาคม 2559 โดยจัดตั้งฝ่ายรักษาความปลอดภัยและกู้ภัย (ฝรภ.) มีอานาจหน้าท่ีในการรักษาความสงบเรียบร้อย และความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในเขตระบบรถไฟฟ้า รวมถึงการศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และวางแผนระบบงาน รักษาความปลอดภัยและกู้ภัย การจัดทามาตรการการรักษาความปลอดภัยและกู้ภัย การรักษาความสงบเรียบร้อยและความเป็นระเบียบ เรียบร้อย งานดับเพลิง งานกู้ภัย งานแก้ไขและบริหารจัดการเหตุฉุกเฉินภายในเขตระบบรถไฟฟ้า รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม รวมท้ังรับผิดชอบเก่ียวกับการป้องกันการบุกรุกเขตระบบรถไฟฟ้า งานตรวจสอบการได้รับ อนุญาตก่อสร้างในเขตปลอดภัยระบบรถไฟฟ้า งานให้บริการองค์ความรู้เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย การดับเพลิง การกู้ภัย และการ บรรเทาสาธารณภัย และประสานงานกับหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนงานรักษาความปลอดภัยและกู้ภัย โดยมีพนักงาน รักษาความปลอดภัย พนักงานกู้ภัย พนักงานพิสูจน์ทราบ พนักงานผู้บังคับสุนัข พนักงานส่ือสาร และพนักงานรักษาเขตทาง เป็นผู้ปฏิบัติงาน ในการดูแลรักษาความปลอดภัย ความสงบ และความเป็นระเบียบเรียบร้อยในเขตระบบรถไฟฟ้า ตามพระราชบัญญัติการรถไฟฟ้าขนส่ง มวลชนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2543
การดาเนินงานรักษาความปลอดภัยและการกู้ภัย
ฝรภ. ได้จัดวางกาลังพนักงานรักษาความปลอดภัย พนักงาน พิสูจน์ทราบ พนักงานผู้บังคับสุนัข พนักงานส่ือสาร พนักงานกู้ภัย และพนักงานรักษาเขตทาง เพื่อเฝ้าระวัง ตรวจตรา รักษาความ ปลอดภัยและความสงบเรียบร้อยในพื้นที่เขตระบบรถไฟฟ้า ตลอด ระยะเวลาของการให้บริการรถไฟฟ้า ตั้งแต่เปิดให้บริการ เวลา 06.00 น. จนปิดให้บริการ เวลา 24.00 น. โดยมีบุคลากรปฏิบัติงาน รักษาความปลอดภัยและกู้ภัย ดังนี้
1. พนักงานรักษาความปลอดภัย เพ่ือดูแลความปลอดภัย ความสงบเรียบร้อย ป้องปรามและป้องกันอาชาญกรรมในเขตระบบ รถไฟฟ้า
2. พนักงานกู้ภัย ทาหน้าที่ตอบโต้เหตุฉุกเฉิน ท้ังด้านการ ดับเพลิง กู้ภัย กู้ชีพ สารเคมีและวัตถุอันตราย และให้การช่วยเหลือ ผู้โดยสาร หรือประชาชนในเขตระบบรถไฟฟ้าและพื้นที่ใกล้เคียง
3. พนักงานพิสูจน์ทราบ (EOD) เป็นผู้ตรวจสอบและพิสูจน์ ทราบวัตถุต้องสงสัย เหตุพบวัตถุระเบิด เหตุขู่วางระเบิด หรือเหตุ ระเบิดในเขตระบบรถไฟฟ้า และหาแนวทางป้องกันมิให้ได้รับผล กระทบต่อการให้บริการ หรือเป็นอันตรายต่อผู้โดยสาร
4. พนักงานผู้บังคับสุนัขตรวจค้นพัสดุภัณฑ์ระเบิด (K-9) ทางานร่วมกับเจ้าหน้าที่พิสูจน์ทราบ (EOD) ในการใช้สุนัขเข้า ตรวจสอบตรวจค้นกรณีเหตุวัตถุต้องสงสัย
5. พนักงานรักษาเขตทาง มีหน้าที่ดูแลรักษาพ้ืนท่ีเขตระบบ รถไฟฟ้า เพื่อมิให้มีการรุกล้าหรือดาเนินกิจกรรมใด ๆ ที่อาจส่ง ผลกระทบต่อการดาเนินกิจการรถไฟฟ้าโดยมิได้รับอนุญาต
6. พนกั งานสอื่ สาร ทา หนา้ ทเี่ ปน็ ผปู้ ระสานงานหนว่ ยงานภายใน และภายนอกเพ่ือแจ้งเหตุขอความช่วยเหลือ ทั้งในกรณีปกติและ กรณีมีเหตุฉุกเฉิน รวมถึงเฝ้าสังเกตุเหตุการณ์จากกล้องโทรทัศน์ วงจรปิด เพื่อป้องกันเหตุอาชญากรรมในเขตระบบรถไฟฟ้า