Page 117 - MRTA Annual Report 2021-Thai
P. 117
รายงานประจาปี 2564
115 กิจกรรมสาคัญ
3. รฟม. ลงนามสัญญาร่วมลงทุนฯ กับ บริษัท นอร์ทเทิร์น บางกอกโมโนเรล จากัด เดินหน้า ก่อสร้างโครงการรถไฟฟา้ สายสีชมพูส่วนต่อ ขยาย ช่วงสถานีศรีรัช - เมืองทองธานี
เมื่อวันท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2564 นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานในพิธีลงนามสัญญาร่วม ลงทุนการออกแบบและก่อสร้างงานโยธา การจัดหาระบบ รถไฟฟ้า การให้บริการการเดินรถไฟฟ้าและซ่อมบารุงรักษา โครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย - มีนบุรี ฉบับแก้ไข กรณีโครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพูส่วนต่อขยาย ช่วงสถานี ศรีรัช - เมืองทองธานี ระหว่าง รฟม. โดยนายภคพงศ์ ศิริกันทรมาศ ผู้ว่าการ รฟม. และบริษัท นอร์ทเทิร์น บางกอก โมโนเรล จา กดั (NBM) โอกาสน้ี ไดร้ บั เกยี รตจิ าก นายศกั ดสิ์ ยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม พร้อมด้วย ผู้บริหารกระทรวงคมนาคม และผู้แทนหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ร่วมเป็นสักขีพยานในพิธี ณ อาคารสโมสรและหอประชุม ชั้น 3 กระทรวงคมนาคม
ท้ังนี้ รฟม. ได้รับมอบนโยบายจากรัฐบาล และ กระทรวงคมนาคม ใหเ้ ปน็ ผกู้ า กบั ดแู ลการดา เนนิ งานโครงการ รถไฟฟา้ สายสชี มพู ชว่ งแคราย - มนี บรุ ี ในรปู แบบสญั ญารว่ ม ลงทุนฯ กับบริษัท NBM ซ่ึงเริ่มดาเนินงานก่อสร้างมาต้ังแต่ เดือนมิถุนายน 2561 และคาดว่าจะสามารถเปิดให้บริการ ประชาชนได้ภายในปี 2565 ในขณะเดียวกัน รฟม. ได้ดาเนิน การศึกษารายละเอียดความเหมาะสม โครงการรถไฟฟ้า สายสชี มพสู ว่ นตอ่ ขยายชว่ งสถานศี รรี ชั -เมอื งทองธานีพบวา่ โครงการฯดงั กลา่ วนน้ั เปน็ ประโยชนต์ อ่ สาธารณะโดยสามารถ เชื่อมต่อกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย - มีนบุรี ซึ่งจะช่วยให้ประชาชนผู้ใช้บริการรถไฟฟ้าเดินทางได้อย่าง ต่อเน่ือง และช่วยบรรเทาปัญหาจราจรได้อีกทางหน่ึง จึงได้ เสนอโครงการฯ ตามขั้นตอนที่เก่ียวข้องจนแล้วเสร็จ ซง่ึ คณะรฐั มนตรไี ดม้ มี ตเิ หน็ ชอบการแกไ้ ขสญั ญารว่ มลงทนุ ฯ โครงการรถไฟฟา้ สายสชี มพูชว่ งแคราย–มนี บรุ ีฉบบั แกไ้ ขกรณี โครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพูส่วนต่อขยาย ช่วงสถานีศรีรัช - เมืองทองธานี เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 ที่ผ่านมา
4. รฟม. ฉลองความสาเร็จ สร้างสถิติดีที่สุด ในการก่อสร้างอุโมงค์รถไฟฟา้ใต้ดิน
เม่ือวันที่ 9 มีนาคม 2564 นายภคพงศ์ ศิริกันทรมาศ ผู้ว่าการ รฟม. ในฐานะหน่วยงานที่รับผิดชอบการก่อสร้าง โครงการรถไฟฟา้ สายสสี ม้ ชว่ งศนู ยว์ ฒั นธรรมแหง่ ประเทศไทย - มีนบุรี (สุวินทวงศ์) พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร รฟม. ลงพ้ืนที่ โครงการรถไฟฟา้ สายสสี ม้ ฯเพอ่ื ตรวจเยย่ี มและรว่ มบนั ทกึ ภาพ ความสา เรจ็ ของงานขดุ เจาะอโุ มงคต์ วั ท่ี 3 ”หวั เจาะบรู พาทรพั ย„์ ที่เจาะทะลุ (TBM Final Breakthrough) จากสถานีหัวหมาก เข้าสู่สถานีรามคาแหงอย่างเป็นทางการ ซึ่งดาเนินการโดย กิจการร่วมค้าซีเคเอสที ผู้รับจ้างก่อสร้างงานโยธาอุโมงค์ ทางว่ิงและสถานีใต้ดิน สัญญาท่ี 1 ช่วงศูนย์วัฒนธรรมแห่ง ประเทศไทย - รามคา แหง 12 และสญั ญาที่ 2 ชว่ งรามคา แหง 12 - หัวหมาก ณ สถานีรามคาแหง ถนนรามคาแหง สาหรับงาน ขุดเจาะอุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ดิน จากสถานี รฟม. ถึงสถานี หัวหมาก มีระยะทางรวมท้ังสิ้น 13.3 กิโลเมตร โดยใช้ชุด หัวเจาะท้ัง 3 ตัว ได้แก่
-หวั ขดุ เจาะที่1”หวั เจาะบรู พาชยั „ดา เนนิ การขดุ เจาะ จากสถานี รฟม. - สถานีรามคาแหง เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2562 - 20 ธันวาคม 2563
-หวั ขดุ เจาะที่2”หวั เจาะบรู พาโชค„ดา เนนิ การขดุ เจาะ จากสถานี รฟม. - สถานีรามคาแหง เมื่อวันท่ี 15 กรกฎาคม 2562 - 26 กุมภาพันธ์ 2564
- หัวขุดเจาะที่ 3 ”หัวเจาะบูรพาทรัพย์„ ดาเนินการ ขุดเจาะจากสถานีหัวหมาก - สถานีรามคาแหง เมื่อวันท่ี 12 มีนาคม 2563 - 6 มีนาคม 2564
นอกจากนี้ การดาเนินการขุดเจาะของหัวขุดเจาะ บูรพาทรัพย์ดังกล่าว ยังถือเป็นสถิติท่ีดีท่ีสุดของการก่อสร้าง อุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ดินของประเทศไทย โดยสามารถประกอบ ผนังอุโมงค์ความยาว 1.4 เมตรได้ถึง 34 วงต่อวัน คิดเป็น ระยะทาง 47.6 เมตร