Page 101 - MRTA Annual Report 2021-Thai
P. 101
รายงานประจาปี 2564
99
ผลการดาเนินงานท่ีสาคัญในด้านต่าง ๆ
ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 รฟม. ได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบการพัฒนาบุคลากร โดยนาเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ในการพัฒนาบุคลากรมากขึ้น เช่น การอบรมผ่านระบบ e-Learning การอบรมแบบ On-line การอบรม แบบ Hybrid Training (On-site และ On-line) และการอบรม แบบ On-air เพื่อส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรด้วยวิธีที่หลากหลาย เน้นการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง และส่งเสริมบุคลากรให้มีส่วนร่วม และมีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง (Self-Learning) ด้วย วิธีการจัดทาแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan: IDP) ที่นอกเหนือจากการพัฒนาโดยไม่ใช้วิธีการฝึกอบรม (Non-Training) และกาหนดให้มีการสอนงานในขณะปฏิบัติงาน (On the Job Training) ให้กับพนักงานใหม่ในช่วงระยะเวลา ทดลองงาน
อีกทั้งมีการยกระดับการจัดการความรู้ผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ เว็บไซต์ศูนย์กลางองค์ความรู้ (KM Website) เพื่อให้ บุคลากรพร้อมรับการเรียนรู้และสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทุกท่ีทุกเวลา ปรับปรุงและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ (e-Learning) ให้สอดคล้องกับ ความสามารถพิเศษขององค์กร (Corporate Core Competency) ในด้านการพัฒนาธุรกิจท่ีมีลูกค้าเป็นศูนย์กลาง (Customer Centric Commercial Development) และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี รถไฟฟา้ (TransitTechnologyApplication)เพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ และประโยชน์สูงสุดของการใช้ระบบจัดการความรู้ในองค์กร
นอกจากนี้ รฟม. ยังจัดทาระบบความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) โดยมีการวิเคราะห์ (Job Analysis) และจัดกลุ่มงาน (Job Family) โดยวิเคราะห์จากคาบรรยายลักษณะงาน คุณสมบัติ เฉพาะตาแหน่งงาน และขีดความสามารถ พร้อมทั้งกาหนดแนวทาง พัฒนาความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Development Plan) เพ่ือให้บุคลากรมองเห็นเส้นทางเจริญเติบโตของตาแหน่งงานภายใน องค์กร เป็นการส่งเสริมความผูกพันของบุคลากรต่อองค์กรและ ผลการปฏิบัติงานท่ีมีประสิทธิภาพ