Page 75 - MRTA Annual Report 2021-Thai
P. 75
รายงานประจาปี 2564 73 ผลการดาเนินงานท่ีสาคัญในด้านต่าง ๆ
•
ตามสัญญาโครงการระบบรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ระหว่าง บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จากัด (มหาชน) (BEM) กับ รฟม. ได้ให้สิทธิแก่ BEM ในการดาเนินกิจกรรมและจัดหารายได้จากการพัฒนาเชิงพาณิชย์ ซึ่ง BEM ได้ให้สิทธิการพัฒนา เชิงพาณิชย์ดังกล่าวกับบริษัทที่มีความชานาญในการดาเนินธุรกิจ เข้ามาดาเนินการและจัดแบ่งรายได้ให้ BEM และ BEM ได้แบ่งส่วนแบ่ง รายได้ดังกล่าวให้แก่ รฟม. โดยในปีงบประมาณ 2564 (ณ วันท่ี 30 กันยายน 2564) มีรายละเอียดการพัฒนาเชิงพาณิชย์ ดังนี้
1. การพัฒนาเชิงพาณิชย์จากสื่อโฆษณา ซึ่งประกอบไปด้วย ส่ือโฆษณาภายในสถานี สื่อภายในขบวนรถไฟฟ้า สื่อโฆษณาพร้อม กิจกรรม การโฆษณาและประชาสัมพันธ์ผ่านระบบ Passenger Information Display (PID) Digital Media การโฆษณาบนประตูก้ัน ชานชาลา (Platform Screen Door (PSD)) และ การโฆษณา และประชาสัมพันธ์บนห่วงมือจับ (Hand Grip)
2. การพัฒนาเชิงพาณิชย์พื้นที่เช่าและบริการ ซึ่งประกอบไปด้วย เครื่องบริการถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ของธนาคารพาณิชย์ ต่าง ๆ เครื่องให้บริการอัตโนมัติต่าง ๆ (Automatic Machine) และการให้เช่าพื้นท่ี ในรูปแบบของร้านค้าปลีก (Retail)
3. การพัฒนาเชิงพาณิชย์ในรูปแบบการสื่อสารโทรคมนาคม
4. การพัฒนาเชิงพาณิชย์อื่น
ทั้งนี้ ในส่วนของผลตอบแทนการพัฒนาเชิงพาณิชย์ที่ รฟม. ได้รับจาก BEM ในปีงบประมาณ 2564 เป็นจานวนเงิน 84,369,724.48 บาท
ประกอบด้วย 1) ส่วนแบ่งรายได้จากการพัฒนาเชิงพาณิชย์จานวน 37,640,752.52 บาท และ 2) รายได้จากผลตอบแทนจานวนเงินรายปี จานวน 46,728,971.96 บาท รายละเอียดปรากฏตามแผนภูมิ
แผนภูมิแสดงส่วนแบ่งรายได้จากการพัฒนาเชิงพาณิชย์ของ รฟม. ประจาปีงบประมาณ 2564
การพัฒนาเชิงพาณิชย์และรายได้จากการพัฒนาเชิงพาณิชย์
18,772,021.36 บาท
5,671,310.60 บาท
13,197,420.56 บาท
หมายเหตุ: รายได้จากการพัฒนาเชิงพาณิชย์เป็นรายได้ที่ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม
46,728,971.96 บาท
ผลตอบแทนรายปี รายได้ส่ือโฆษณา รายได้พ้ื นท่ีเช่าและบริการ รายได้ส่ือโทรคมนาคม