Page 90 - MRTA Annual Report 2021-Thai
P. 90

รายงานประจาปี 2564 88 การรถไฟฟา้ ขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ผลการดาเนินงานด้านอัตราค่าโดยสารและธุรกิจบัตรโดยสาร
1. การจัดทาบัตรร่วมธุรกิจ (Co-brand Card)
รฟม. ร่วมกับ ธนาคารกสิกรไทย จากัด (มหาชน) และธนาคาร กรุงไทย จากัด (มหาชน) จัดทาบัตรร่วมธุรกิจ ต่อเนื่องเพ่ิมเติม จากปีงบประมาณ 2563 โดยบัตรดังกล่าวสามารถใช้เป็นบัตร เดบิตสาหรับการทาธุรกรรม ในภาคธนาคารและเป็นบัตรโดยสาร (บัตรแมงมุม) ได้ในใบเดียวกัน เป็นการอานวยความสะดวกในการ ใช้บริการรถไฟฟ้าให้แก่ลูกค้า/ผู้ถือบัตร ตอบสนองความต้องการ และสอดคล้องกับรูปแบบการใช้ชีวิตของคนเมืองตลอดจนเป็นการ ส่งเสริมและกระตุ้นให้ประชาชนหันมาใช้บริการขนส่งสาธารณะ มากขึ้น
2. การให้สิทธ์ิส่วนลดเติมเงิน/เที่ยวโดยสาร ในบัตรโดยสาร
รฟม. ได้ร่วมกับ บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จากัด (มหาชน) และ
บริษัท ไมโม่ เทค จากัด มอบสิทธิ์ส่วนลดเติมเงิน/เที่ยวโดยสาร (Pass) โดยผู้โดยสารสามารถใช้คะแนนสะสม PT Max Card และ AIS Points แลกรับสิทธิ์ส่วนลดเติมเงิน/เที่ยวโดยสาร (Pass) ใน บัตรโดยสาร ท้ังน้ี เป็นไปตามเง่ือนไขท่ี รฟม. และบริษัทกาหนด
3. การออกผลิตภัณฑ์เท่ียวโดยสาร (Pass)
รฟม. ร่วมกับ บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จากัด (มหาชน) (BEM) ออกผลิตภัณฑ์เท่ียวโดยสาร แบบจากัดเที่ยว สายฉลองรัชธรรม (Purple Line Pass: PL Pass) สายเฉลิมรัชมงคล (Blue Line Pass: BL Pass) และเท่ียวโดยสารร่วม (Multiline Pass: ML Pass) เพื่อเป็นทางเลือกในการเดินทางให้ประชาชนที่ เดินทางด้วยระบบรถไฟฟ้ามหานคร รวมทั้งตอบสนองความต้องการ ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า ซึ่งช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์และความ พึงพอใจต่อ รฟม. และกระทรวงคมนาคม อีกทั้งยังสอดคล้อง กับนโยบายของรัฐบาลในการบรรเทาความเดือดร้อนและลดภาระ ค่าครองชีพของประชาชน
4. มาตรการคุ้มครองผู้ใช้บริการท่ีได้รับผลกระทบ จากสถานการณ์COVID-19กรณเีทยี่ วโดยสาร(Pass) รฟม. ร่วมกับ บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จากัด
(มหาชน) (BEM) ออกมาตรการคมุ้ ครองผใู้ ชบ้ รกิ ารทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 กรณีเที่ยวโดยสาร (Pass) โดยผู้โดยสารสามารถติดต่อ ขอเปล่ียน เที่ยวโดยสารที่หมดอายุเป็นคูปองการเดินทางได้ตามประเภท ผลิตภัณฑ์และจานวนเท่ียวโดยสารที่คงเหลือ ท้ังน้ี เป็นไปตาม เงื่อนไขที่กาหนด
5. การรบั ชา ระคา่ โดยสารสา หรบั ผใู้ ชส้ ทิ ธต์ิ ามโครงการ สวัสดิการของรัฐ
รฟม. ร่วมกั บบริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จากัด
(มหาชน) (BEM) ให้บริการรับชาระค่าโดยสารรถไฟฟ้าสาหรับ ผู้ใช้สิทธ์ิตามโครงการสวัสดิการของรัฐเพื่อลดภาระค่าครองชีพให้แก่ ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ติดเช้ือไวรัส COVID-19 ได้แก่ โครงการ ”เราชนะ„ โครงการ ม.33 เรารักกัน โครงการคนละครึ่ง ระยะที่ 3 และโครงการเพิ่มกาลังซ้ือฯ
6. โครงการเตรียมความพรัอมสาหรับการใช้ตั๋วร่วม
ในคราวประชุมคณะกรรมการนโยบายระบบต๋ัวร่วม (คนต.) คร้ัง ที่ 1/2564 เม่ือวันท่ี 28 มกราคม 2564 ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวง คมนาคมเป็นประธาน ที่ประชุมฯ มีมติให้ รฟม. เร่งพิจารณาใน รายละเอียดเกี่ยวกับการจัดทาระบบต๋ัวร่วมแบบ Account Based Ticketing (ABT) โดยใช้บัตร EMV Contactless (Euro Pay Master Card and Visa) มาใช้กับระบบต๋ัวร่วม ตามท่ีรายงานว่า ธนาคารกรุงไทยมีความพร้อมที่จะลงทุน ในระบบ EMV ทั้งหมด สาหรับรถไฟฟ้าสายสีม่วงและสายสีน้าเงิน โดยคาดว่าจะใช้ได้อย่าง เต็มรูปแบบภายในเดือนมีนาคม 2565
รฟม. ไดเ้ ขา้ รว่ มทดสอบการสาธติ การใชบ้ ตั ร EMV Contactless มาใช้กับระบบตั๋วร่วมที่ Automatic Gate ระบบรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล เมื่อวันท่ี 1 กรกฎาคม 2564 ณ สถานีหัวลาโพง และสถานีสนามไชย ผลการทดสอบพบว่าอุปกรณ์สามารถทางาน ได้ถูกต้องตามที่ได้ทาการออกแบบไว้


































































































   88   89   90   91   92